ข้ามไปเนื้อหา

วิกิพีเดีย:รู้ไหมว่า/หัวข้อที่ถูกเสนอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แม่แบบปัจจุบัน (หน้าหลัก)
เสนอบทความ
อภิปราย
พื้นที่เตรียมการ
กรุ

ยินดีต้อนรับเข้าสู่หน้าเสนอรู้ไหมว่า ซึ่งจะเป็นเนื้อหาที่ปรากฏบนหน้าหลักของวิกิพีเดีย ในส่วนรู้ไหมว่า โดยผู้ใช้วิกิพีเดียจะนำเนื้อหาที่ถูกเสนอตามรายชื่อด้านล่างนี้ไปแสดงผลเป็นระยะ

ในหน้านี้ผู้ใช้ลงทะเบียนทุกคนมีสิทธิเสนอข้อความและทบทวนได้ เนื้อหาที่นำเสนอต้องเป็นบทความสร้างใหม่หรือบทความปรับปรุงใหม่ที่ขยายบทความเดิมอย่างมีนัยสำคัญ สิ่งที่กล่าวถึงเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาภายในบทความนั้นเอง บทความเก่าแม้ว่าจะมีความน่าสนใจก็ตามถือว่าไม่ผ่านเกณฑ์เพราะหน้านี้มีจุดประสงค์เพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงล่าสุดและส่งเสริมให้มีการแก้ไขบทความอย่างต่อเนื่อง

หลักเกณฑ์บทความ

  • เป็นบทความที่เพิ่งสร้างใหม่ไม่เกิน 2 สัปดาห์นับจากวันที่เสนอ (ดูรายชื่อ) บทความนั้นต้องมีคำ (ไม่รวมอักขระที่เป็นโค้ด แม่แบบ ตาราง ฯลฯ) มากกว่า 400 คำ หรือมีขนาด 10,000 ไบต์ขึ้นไป (แล้วแต่ข้อไหนผ่านก่อน) หรือ
  • เป็นบทความที่เพิ่มข้อมูลจนยาวกว่าเดิมอย่างน้อยสองเท่า ภายใน 14 วัน

รูปแบบข้อความที่เสนอ

  • เนื้อหาที่เสนอต้องเป็นไปตามนโยบาย ทั้งมุมมองที่เป็นกลาง และไม่ใช่การประกาศ ปราศรัย โฆษณาชวนเชื่อ ตลอดจนไม่ใช่รายงานข่าว
  • ข้อความที่เสนอมีความน่าสนใจ ไม่ควรเป็นเพียงการเสนอคำนิยาม
  • ข้อความที่เสนอต้องมีแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือกำกับในบทความ และต้องเป็นแหล่งอ้างอิงแทรกในเนื้อหา (inline citation)
  • รูปแบบการเสนอควรใช้ข้อความที่สั้น กระชับ และได้ใจความ รวมถึงมีลักษณะที่เขียนต่อจากคำว่า รู้ไหมว่า...
  • ในข้อความที่เสนอต้องไม่มีลิงก์แดง
  • ไม่นำเรื่องในหมวดหมู่เดียวกัน เช่น ฟุตบอล ประเทศหนึ่ง ๆ หรือศาสนาหนึ่ง ๆ ขึ้นในรอบเดียวกัน

ระยะเวลาการแสดงผลในหน้าหลัก

ณ วันสิ้นเดือนของแต่ละเดือนให้คำนึงถึง n เป็นจำนวนคิวที่เต็มแล้วของข้อความ DYK ณ 23:59 น. UTC+7 วันก่อนวันสิ้นเดือน (คิวที่เต็มแล้วหมายถึง 6 ชุดข้อความและ 1 รูปภาพที่ผ่านการพิจารณาเป็นรายชิ้นแล้ว รวมถึงผ่านการจัดชุดบทความให้มีความหลากหลายในเชิงเนื้อหาสาระพร้อมนำเสนอในภาพรวมแล้วด้วย วันก่อนวันสิ้นเดือน เช่น เดือนมกราคม หมายถึง 30 มกราคม)

  • n = 0 ไม่มีการปรับปรุง DYK ในเดือนถัดไปตลอดทั้งเดือน มีข้อความเชิญชวนให้เสนอบทความ DYK และช่วยกันพิจารณา DYK ตามหลักเกณฑ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะแสดงผลเมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลง DYK เกิน 30 วัน (เหตุการณ์นี้อาจเกิดขึ้นได้จากขาดอาสาสมัครพิจารณาข้อเสนอ DYK ไปจัดลงคิวก็ได้ ไม่ใช่เพียงขาดแคลนการเสนอบทความเข้าสู่ DYK) แม้จะมี DYK เข้าคิวสำหรับเดือนใหม่แล้วข้อความเชิญชวนจะแสดงข้ามเดือนต่อไปจนกว่าจะถึงวันที่กำหนดให้แสดงผลครั้งแรก
  • 1 ≤ n ≤ 9 ดึงออกมาใช้งานตามจำนวนครั้งด้านล่าง โดยตัดออกจากคิวปัจจุบันออกไปเพื่อทำเป็นแม่แบบรอขึ้นหน้าหลักทันที
    • n = 1, 2, 3 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK ครั้งเดียว ในวันที่ 15 เท่านั้น
    • n = 4, 5 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK สองครั้ง ในวันที่ 8 และ 22 เท่านั้น
    • n = 6, 7 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK สามครั้ง ในวันที่ 5 15 และ 25 เท่านั้น
    • n = 8, 9 เดือนถัดไปจะมีการปรับปรุง DYK สี่ครั้ง ในวันที่ 4 11 19 และ 26 เท่านั้น
    • หลักคิดคือต้องสำรองเนื้อหาไว้ประมาณหนึ่งเท่าตัว เลี่ยงการปรับปรุงในวันที่ 1 เพราะเป็นวันเปลี่ยนบทความคัดสรรประจำเดือน แต่ยังยึดหลักการพิจารณาคราวเดียวในวันสุดท้ายของเดือนเพื่อให้เกิดความแน่นอนว่าเนื้อหาที่จะแสดงในหน้าหลักในเดือนถัดไปคืออะไร หลักคิดนี้คล้ายกับการจัดการ DYK ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษรวมถึงบทความคัดสรรในวิกิพีเดียภาษาไทย แต่การดำเนินการปรับให้เหมาะกับชุมชนที่มีแรงงานน้อยและมีระยะเวลาการสื่อสารระหว่างกันที่ต้องรอฟังความเห็นกันนานกว่า เดือนหนึ่งมี 28-31 วัน ได้พยายามกระจายวันให้เท่ากันมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้แต่จะไม่เท่ากันเสียทีเดียว

คิวได้รับกำหนดวันแสดงผลแล้ว[แก้]

เขียนเป็นหน้าย่อยของแม่แบบ {{รู้ไหมว่า}}/yyyy-mm-dd ซึ่ง mm และ dd เป็นตัวเลขของเดือนในรูปแบบเลขอารบิกที่มีศูนย์นำหน้า

กำหนดแสดงผลในเดือนสิงหาคม

จะพิจารณาในวันที่ 31 กรกฎาคม 2567 จากจำนวนคิวที่เต็มแล้วของข้อความ DYK ณ 30 กรกฎาคม 2567 23:59 น. UTC+7

กำหนดแสดงผลในเดือนกรกฎาคม
  • {{รู้ไหมว่า/2024-07-15}} (รายการแรกในระบบใหม่ ขอยืมย้ายมาจากคิว ถือว่าเป็นการทดสอบระบบ ยังไม่เป็นการทำงานอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ)
  • {{รู้ไหมว่า/2024-07-01}} (สืบเนื่องจากระบบเดิม คัดลอกมาเหมือนเดิมทุกประการ จากนั้นเปลี่ยนแปลง {{รู้ไหมว่า}} ไปอย่างถาวร)

คิวได้รับการตรวจสอบแล้ว[แก้]

คิว 1
ภาพวาด โมนาลิซา
ภาพวาด โมนาลิซา

คิว 2

คิว 3
[[File:|140px | ]]
  • ...
  • ...
  • ...
  • ...
  • ...
  • ...

คิว 4
[[File:|140px | ]]
  • ...
  • ...
  • ...
  • ...
  • ...
  • ...

เสนอรู้ไหมว่า[แก้]

สัญลักษณ์การซักอบรีดกำหนดให้ซักแห้งด้วยตัวทำละลายไฮโดรคาร์บอน (F) โดยมืออาชีพ (วงกลมรอบ F) ด้วยความทะนุถนอมอย่างมาก (ขีดเส้นใต้สองเส้น)
สัญลักษณ์การซักอบรีดกำหนดให้ซักแห้งด้วยตัวทำละลายไฮโดรคาร์บอน (F) โดยมืออาชีพ (วงกลมรอบ F) ด้วยความทะนุถนอมอย่างมาก (ขีดเส้นใต้สองเส้น)

รอปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ[แก้]

  • ...อ่าวโทยามะ ถูกจัดให้เป็นอ่าวที่สวยที่สุดในโลกเป็นลำดับที่สองในประเทศญี่ปุ่นโดยโครงการ เวิร์ด มอสท์ บิวตีฟูล เบยส์ คลับ (World's Most Beautiful Bays Club)