กฎหมายน่ารู้
Cyber Sexual Harassment คือ การใช้ภาษาลวนลามทางเพศผ่านสื่อ โซเชียลมีเดียพฤติกรรมแบบใดเข้าข่าย Cyber Sexual Harassment?การเหยียดเพศ - การแสดงความคิดเห็นในเชิงดูถูกเหยียดหยามรสนิยมทางเพศ...
28 กุมภาพันธ์ 2023
อ่านเพิ่มเติม
ลูกเราน่ารักก็อยากแชร์ความน่ารักน่าเอ็นดูให้ใครได้เห็น แต่รู้หรือไม่ว่าอาจมีผลกระทบที่ตามมากับเด็ก แล้วแบบนี้จะผิดกฎหมายข้อไหนบ้าง?การกระทำเช่นนี้ถือเป็น การละเมิดสิทธิ์ความเป็นส่วนตัว และ...
28 กุมภาพันธ์ 2023
อ่านเพิ่มเติม กฎหมายน่ารู้
การระรานทางไซเบอร์ (Cyber Bullying)
การโพสต์ข้อความ ภาพ หรือคลิปวิดีโอเพื่อด่าทอ ระบายอารมณ์ ประจานผู้อื่นเพื่อสร้างความอับอาย เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นบนโซเชียลมีเดีย ยิ่งมีการส่งต่อ การตอบโต้กันไปมาโดยมีคนอื่น ๆ...
25 มกราคม 2023
อ่านเพิ่มเติม กฎหมายน่ารู้
ถูกลวนลาม คุกคาม ทางเพศ แชทพูดคุยเรื่องทางเพศ ส่งรูปทางเพศ สามารถแจ้งความได้ เพราะเข้าข่ายอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
การพูดคุยรับส่งสื่อทางเพศที่ไม่เหมาะสม (Sexting)การลวนลามทางเพศ เป็นการกระทำที่ล่วงเกินได้ทั้งทางกายและวาจา การสัมผัส การมอง การพูดจาแทะโลม การวิพากษ์วิจารณ์สรีระ...
25 มกราคม 2023
อ่านเพิ่มเติม
การแบล็กเมลทางเพศ (Sextortion)การแบล็กเมลทางเพศ อาจเป็นการล่อลวงไปละเมิดทางเพศจริง ๆ หรือถูกโน้มน้าวชักจูงหรือล่อลวงให้แสดงโชว์ลามกผ่านกล้องแล้วถูกบันทึกภาพวิดีโอเอาไว้ข่มขู่เรียกเงิน...
25 มกราคม 2023
อ่านเพิ่มเติม กฎหมายน่ารู้
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใน พ.ร.บ.ธุรกรรมฯ
การทำด้วยกระดาษครึ่งหนึ่ง อิเล็กทรอนิกส์ครึ่งหนึ่ง มีกระบวนการเปลี่ยนสื่อที่กฎหมายกำหนเไว้ คือเมื่อลงนามแบบกระดาษไปแล้ว ต้องแปลงเป็นอิเล็กทรอนิกส์ ตามข้อกำหนด พ.ร.บ.ธุรกรรมฯ มาตรา 12/1...
6 ธันวาคม 2020
อ่านเพิ่มเติม กฎหมายน่ารู้
ความรู้เรื่องกฎหมายสื่อลามกอนาจารเด็ก
การอยู่ในกลุ่มไลน์ที่ส่งคลิปอนาจารเด็กให้กัน ถือว่าเป็นผู้ร่วมกระทำความผิดด้วย และต้องได้รับโทษตามกฎหมาย
6 ธันวาคม 2020
อ่านเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้รับรองสถานะหรือผลทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ในมาตรา 7 และมาตรา 11 เพื่อให้สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับเอกสารกระดาษ...
21 ตุลาคม 2019
อ่านเพิ่มเติม กฎหมายน่ารู้
กฎหมายดิจิทัลประเทศไทย พร้อมหมดแล้ว!
1-2 "Basic Law กฎหมายว่าด้วยเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทย เกิดขึ้นเมื่อ 3 ปีที่แล้ว ตอนนี้ก็ใช้งานเต็มที่ ก่อให้เกิดกองทุน ก่อให้เกิดองค์กรใหม่ เช่น depa ก่อให้เกิดองค์กรเชิงนโยบาย ที่เรียกว่า สดช."
16 ตุลาคม 2019
อ่านเพิ่มเติม กฎหมายน่ารู้
รู้จัก พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (Personal Data Protection Act, B.E. 2562 (2019)) ในหน้าเดียว โดย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
13 ตุลาคม 2019
อ่านเพิ่มเติม
ปัจจุบัน ส่วนที่มีผลใช้บังคับแล้ว ตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม 2562 ที่ผ่านมา มีเพียง หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หมวด 4 สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และบทเฉพาะกาล (เว้นแต่ความในมาตรา 95...
4 ตุลาคม 2019
อ่านเพิ่มเติม
สร้างศักยภาพในการป้องกันรับมือ และลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามไซเบอร์โดยเน้นโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ หรือ CII ทั้งรัฐและเอกชน
30 กันยายน 2019
อ่านเพิ่มเติม